Lab CSS Calc and CSS Var 64070007 ป้อง-กิตตินันท์ ..
✨ KITTINAN CHAROENSONG
<html> <head> <title>การปฏิวัติฝรั่งเศส 1789 : การทลายเรือนจำเพื่อหมุดหมายของเสรีภาพและเท่าเทียม </title> <style> body{ background:#eee; margin:0; font-family:sans-serif; --hue:220; } .main{ padding:1em; background:white; max-width:900px; margin:auto; font-size:1em; margin-bottom:2em; } img{ width:100%; } .edit-font-size{ text-align:right; font-size:1rem; } blockquote{ color:hsl(var(--hue),100%,40%); border-left:.2em solid hsl(var(--hue),100%,60%); padding:1em; background:hsl(var(--hue),100%,96%); } h1{ color:hsl(var(--hue),100%,50%); } a{ color:hsl(var(--hue),100%,60%); } a:hover{ color:hsl(var(--hue),100%,40%); } </style> </head> <body> <img src="https://thepeople.co/wp-content/uploads/2020/07/%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%9D%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%AA-1789Website_1200x628.jpg"> <div class="main"> <div class="edit-font-size"> <span>ปรับขนาดตัวอักษร </span> <input type="range" min="1" max="50" step="1" id="slider" onchange="changeSizeBySlider()"> </div> <h1> การปฏิวัติฝรั่งเศส 1789 : การทลายเรือนจำเพื่อหมุดหมายของเสรีภาพและเท่าเทียม </h1> <blockquote> พวกเขาไม่ได้กระด้างกระเดื่องหรือกำเริบ แต่นี่คือการปฏิวัติ </blockquote> <div class="container" id="container"> <p> ทุกวันที่ 14 กรกฎาคมของทุกปี นับตั้งแต่ปี 1789 ฝรั่งเศสจะเรียกวันนี้ว่าวันบัสตีย์ (Bastille Day) หรือวันชาติฝรั่งเศส เพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์ครั้งสำคัญทางประวัติศาสตร์ สังคม และการเมืองของประเทศ จากการบุกไปยังเรือนจำบัสตีย์ที่เป็นสัญลักษณ์การกดขี่ของระบอบกษัตริย์ฝรั่งเศส ทำลายอาคารกับป้อมปราการจนราบ เพื่อแสดงให้เห็นอำนาจของประชาชนที่ไม่ยอมอยู่ภายใต้การทำตามใจชอบของชนชั้นปกครอง </p> <p> เหตุการณ์การพังคุกบัสตีย์ที่ถูกกล่าวขานจนถึงปัจจุบัน เกิดขึ้นในยุคที่ฝรั่งเศสอยู่ภายใต้การปกครองของ พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ช่วงเวลานั้นถือเป็นเวลาแห่งความเปลี่ยนแปลง เกิดวิกฤตทางเศรษฐกิจสืบเนื่องจากรัชกาลก่อน ประเทศเป็นหนี้มหาศาลจากการเข้าร่วมสงครามบนผืนแผ่นดินอเมริกา และระบบทุนนิยมที่เริ่มไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป </p> <p> เมื่อท้องพระคลังถังแตก รัฐบาลของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 สั่งเก็บภาษีจากประชาชนสูงขึ้น ทั้งที่ชาวบ้านแทบไม่มีจะกิน ขนมปังที่เป็นอาหารหลักราคาสูงจนน่าใจหาย พืชผลเก็บเกี่ยวน้อยลงจากความแปรปรวนของสภาพอากาศ ส่งให้สภาพความเป็นอยู่ของผู้คนโดยรวมย่ำแย่กว่าที่เคยเป็นมา </p> <p> ปารีสอันสวยงามเต็มไปด้วยโจรผู้ร้าย ประชาชนโกรธแค้นกับความเป็นอยู่แร้นแค้นไม่รู้จะไปลงกับใคร บางคนบุกปล้นจับเจ้าของร้านขนมปังมาแขวนคอ เพราะคิดว่าพวกเขากักตุนแป้งสาลี ภาษีก็เก็บแพงขึ้น ปัญญาชนที่ไม่มีบรรดาศักดิ์เรียกร้องให้รัฐบาลของกษัตริย์แก้ปัญหาปากท้อง เมื่อมีเสียงวิจารณ์เพิ่มขึ้นจนกลายเป็นความกดดัน พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 จึงต้องเปิดประชุมสภาฐานันดรที่ไม่ได้จัดมาเป็นร้อยปีเพื่อหารือถึงปัญหาที่เกิดขึ้น </p> <p> การประชุมสภาฐานันดร ประกอบด้วยนักบวชหรือพระที่เป็นฐานันดรที่ 1 ฐานันดรที่ 2 คือเหล่าขุนนาง และฐานันดรที่ 3 เป็นสามัญชนหรือชนชั้นกระฎุมพี อย่างไรก็ตาม การประชุมไม่ทำให้สถานการณ์บ้านเมืองดีขึ้น เนื่องจากการโหวตมติหรือนโยบายใด ๆ ถูกโหวตตามฐานันดรไม่ใช่รายบุคคล ถึงแม้ที่ประชุมมีสมาชิกฐานันดรที่ 3 เยอะสุด แต่นับเป็น 1 โหวตอยู่ดี พวกเขาไม่มีวันชนะเพราะฐานันดร 1 กับ 2 คิดไปในทางเดียวกัน </p> <img src="https://thepeople.co/wp-content/uploads/2020/07/%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%9D%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%AA-1789-3_PHOTO_1200x800.jpg"> <p> เหตุผลที่ชนชั้นสูงคิดเหมือนกันเป็นเพราะฐานันดรที่ 1 และ 2 ได้รับการงดเว้นหลายอย่าง โดยเฉพาะการไม่ต้องเสียภาษี พวกเขาไม่ต้องการการเปลี่ยนแปลงเพราะชีวิตสงบสุขอยู่แล้ว ต่างจากฐานันดรที่ 3 ที่ต้องแบกค่าใช้จ่ายจำนวนมาก ประกอบกับแนวคิดยุคปรัชญาแสงสว่างที่เข้ามายังฝรั่งเศสมากขึ้นเรื่อย ๆ แนวคิดที่ว่าคนทุกคนมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ได้สร้างความรู้สึกไม่ยุติธรรมแก่สามัญชน </p> <p> ตัวแทนจากฐานันดรที่ 3 เริ่มเอาใจออกหากรัฐบาลของพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 พวกเขาไม่เข้าใจว่าทำไมตัวเองต้องทำงานหนักเลี้ยงพวกเจ้า พระ และขุนนางที่ไม่ต้องจ่ายภาษี เหล่านักกฎหมาย ปัญญาชน นักเขียน จึงพากันไปจัดตั้งสภาของตัวเองแทนชื่อ ‘สมัชชาแห่งชาติ’ หรือ ‘สภาร่างรัฐธรรมนูญ’ ที่สาบานร่วมกันในสนามเทนนิสว่าจะร่างรัฐธรรมนูญใหม่ขึ้นให้ได้ เพื่อเปลี่ยนระบอบการเมืองการปกครองเสียใหม่ </p> <p> ความคิดของชาวฝรั่งเศสแตกออกเป็นสองฝ่ายใหญ่ ๆ ฝ่ายหนึ่งคือคนที่เห็นชอบกับการปกครองเดิม เป็นกลุ่มขุนนางอนุรักษนิยมมองว่าสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไม่จำเป็นต้องถูกโค่นล้ม ระบอบกษัตริย์จะปกครองฝรั่งเศสให้ยิ่งใหญ่ต่อไปได้ กับอีกกลุ่มที่ต้องการการเมืองแนวใหม่ ต้องการร่างรัฐธรรมนูญอย่างเป็นทางการพร้อมกับกษัตริย์ต้องอยู่ใต้รัฐธรรมนูญ เมื่อเกิดความขัดแย้งทางความคิด ผู้มีอำนาจสั่งทหารให้จัดการชาวบ้านที่ก่อความวุ่นวาย เวลาเดียวกันนายทหารบางคนถูกจับขังคุกเพราะปฏิเสธคำสั่งยิงใส่ฝูงชน </p> <p> จุดแตกหักครั้งสำคัญพาไปสู่การปฏิวัติการเมืองการปกครองฝรั่งเศสส่วนหนึ่งเกิดขึ้นเพราะพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 เรียกกองทหารผู้จงรักภักดีที่อยู่ต่างเมืองและต่างประเทศกลับมาประจำการยังปารีส ควบคู่กับพระราชโองการปลด ฌาค แนแกร์ (Jacques Necker) รัฐมนตรีกระทรวงการคลังในวันที่ 12 กรกฎาคม 1789 ด้วยพระองค์มองว่าชายคนนี้เห็นอกเห็นใจชาวบ้านมากเกินไป การกระทำของกษัตริย์สร้างความหวาดระแวงแก่ประชาชน ผู้คนเลยพากันออกมาเดินประท้วงทั่วปารีส </p> <p> อ่านต่อ - <a href="https://thepeople.co/bastille-day-french-revolotion-1789/">การปฏิวัติฝรั่งเศส 1789 : การทลายเรือนจำเพื่อหมุดหมายของเสรีภาพและเท่าเทียม โดย thepeople.co </a> </p> <img src="https://thepeople.co/wp-content/uploads/2020/07/%E0%B8%84%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%9D%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%AA-1789-1_PHOTO_1200x800.jpg"> </div> </div> <script> var cont = document.getElementById("container"); function changeSizeByBtn(size) { // Set value of the parameter as fontSize cont.style.fontSize = size; } function changeSizeBySlider() { var slider = document.getElementById("slider"); // Set slider value as fontSize cont.style.fontSize = slider.value; } </script> </body> </html>